เว็บไซต์สำหรับเก็บผลงานประเมิน PA
นางสาวอุมาพร ประดับหิน
ตำแหน่ง ครู
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนบดินเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒
ปีการศึกษา 2567
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 16.65 ชั่วโมง/สัปดาห์ ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
- รายวิชาวิทยาการคำนวณ ม.3 จำนวน 11.66 ชั่วโมง/สัปดาห์
- รายวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
สำหรับปัญญาประดิษฐ์เบื้องต้น ม.5 จำนวน 3.33 ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
- กิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์ จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
- กิจกรรมชุมนุม จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 6 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 8 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2567
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 16.65 ชั่วโมง/สัปดาห์ ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
- รายวิชาวิทยาการคำนวณ ม.3 จำนวน 8.33 ชั่วโมง/สัปดาห์
- รายวิชาอินเทอร์เน็ตสำหรับทุกสรรพสิ่ง
กับการประยุกต์ใช้ ม.4 จำนวน 3.33 ชั่วโมง/สัปดาห์
- รายวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
สำหรับปัญญาประดิษฐ์เบื้องต้น ม.5 จำนวน 3.33 ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
- กิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์ จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
- กิจกรรมชุมนุม จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 6 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 8 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
ประเด็นท้าทายเรื่อง : การแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) เรื่องอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง โดยใช้บทเรียนออนไลน์
>> เป้าหมายเชิงปริมาณ <<
ผู้เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ได้รับ
การซ่อมเสริมและพัฒนาปรับปรุง
ผลการเรียนให้ดีขึ้นไม่ต่ำกว่า
ร้อยละ 80 ของผู้เรียนทั้งหมด
>> เป้าหมายเชิงคุณภาพ <<
ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น
และมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้
โดยใช้สื่อการสอนออนไลน์
กดปุ่มหัวข้อ
สำหรับ
เอกสารประกอบ
ปีการศึกษา
2/2566
สรุปการจัดการเรียนการสอน
รายวิชาวิทยาการคำนวณ (ว23106)
สรุปการจัดการเรียนการสอน
รายวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
สำหรับปัญญาประดิษฐ์เบื้องต้น (ว30284)
กดปุ่มหัวข้อ
สำหรับ
เอกสารประกอบ
ปีการศึกษา
1/2567
สรุปการจัดการเรียนการสอน
รายวิชาอินเทอร์เน็ตสำหรับทุกสรรพสิ่ง
กับการประยุกต์ใช้ (ว30281)
สรุปการจัดการเรียนการสอน
รายวิชาวิทยาการคำนวณ (ว23106)
สรุปการจัดการเรียนการสอน
รายวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
สำหรับปัญญาประดิษฐ์ประยุกต์ (ว30287)
การสร้างและพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้
การสนับสนุนและส่งเสริมให้นักเรียนได้ออกแบบชิ้นงานโดยใช้เทคโนโลยี
2.4 ประสานความร่วมมือ
ผู้ปกครอง ภาคีเครือข่ายและ
สถานประกอบการ
1) จัดประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน ภาคเรียนละ 1 ครั้งเพื่อติดตามแก้ไขปัญหาช่วยเหลือนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
2) มีการเยี่ยมบ้านนักเรียนทุกภาคเรียน เพื่อติดตามแก้ไขปัญหา ช่วยเหลือนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
ขั้นตอนที่ 1 การจัดเตรียมวางแผนดำเนินการ
ขั้นตอนนี้ผู้ศึกษาได้ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาบทเรียนออนไลน์ รายวิชาวิทยาการคำนวณ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒ โดยกำหนดวัตถุประสงค์ของการศึกษา ขอบเขตการศึกษา กรอบแนวคิดของการศึกษา คำนิยามศัพท์เฉพาะ ขั้นตอนการดำเนินการศึกษา ประชากรและเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
ขั้นตอนที่ 2 การดำเนินงาน
ผู้ศึกษาสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาซึ่งเป็นบทเรียนออนไลน์ที่มีแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน กำหนดวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและการกำหนดสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล และการสรุปผล
ขั้นตอนที่ 3 การรายงานผลการศึกษา
ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนการจัดทำการรายงานผลการศึกษา จากการสรุปผลการศึกษา อภิปรายผลและการจัดทำข้อเสนอแนะ การจัดพิมพ์รูปเล่มและการนำเสนอ
ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของผู้เรียน
การทดสอบก่อนเรียน
อยู่ในระดับ “ต่ำกว่าเกณฑ์”
การทดสอบหลังเรียน
อยู่ในระดับ “ดีมาก”
23.14%
8.36%
จากค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน หลังเรียน ได้คำนวณค่าของประสิทธิภาพการสอนของครูด้วย
ค่าสัมประสิทธิ์การกระจาย พบค่า C.V. = 2.36% ซึ่งถือว่ามีคุณภาพการสอนในระดับดี
จึงกล่าวได้ว่า การจัดกิจกรรมกระบวนการเรียนรู้ การใช้สื่อบทเรียนออนไลน์ มีประสิทธิภาพในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 รายวิชาวิทยาการคำนวณให้สูงขึ้นเป็นที่น่าพอใจ
รายงานผล
ประเด็นท้าทาย
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเชิงปริมาณ
ผู้เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ได้รับการซ่อมเสริมและพัฒนาปรับปรุง
ผลการเรียนให้ดีขึ้นไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ของผู้เรียนทั้งหมด
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเชิงปริมาณ
ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น
และมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้โดยใช้สื่อการสอนออนไลน์